Skip to main content

สถานการณ์และข้อเสนอเชิงนโยบายเรื่องผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่พักพิง

ความเสี่ยงของผู้ลี้ภัย ส่วนใหญ่เป็นผู้หลบหนีเข้าเมืองผิดกฏหมายหรืออยู่อาศัยโดยไม่ได้รับอนุญาติ ก็จะมีความเสี่ยงต่อการจับกุม กักขังอย่างไม่มีกำหนด ผลักดันกลับประเทศต้นทาง เสี่ยงต่อการแสวงประโยชน์โดยมิชอบตามกฏหมายจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ได้รับความช่วยเหลือจาก UNs และ NGOs อย่างจำกัด เข้าถึงบริการพื้นฐานของภาครัฐเช่น การศึกษา สาธารณสุข ได้ยากลำบาก บันทึกความเข้าใจการกำหนดมาตรการและแนวทางแทนการกักตัวเด็กไว้ในสถานกักตัวคนต่างด้าวเพื่อรอการส่งกลับ (ATD-MOU) ส่วนใหญ่ผู้ลี้ภัยเด็กและครอบครัวจากกลุ่มนี้จะได้รับประโยชน์จากนโยบายดังกล่าวแต่ยังมีปัญหาในเชิงนโยบายและการจัดการ ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการแก้ไข เช่

แถลงการณ์ร่วมภาคประชาสังคม เรื่องภาคประมงของไทยในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ

พวกเราที่มีรายนามตามท้ายของหนังสือฉบับนี้ ขอเรียกร้องท่านนายกรัฐมนตรีด้วยความเคารพและใคร่ขอให้ท่านดำเนินการโดยทันทีเพื่อให้แน่ใจว่ากฎระเบียบป้องกัน IUU และกลไกความโปร่งใสที่มีอยู่ในปัจจุบันทั้งในกฎหมายและข้อบังคับได้รับการคุ้มครองและมีความเข้มแข็ง แทนที่จะถูกผ่อนปรนหรือเพิกถอน รัฐบาลควรขยายการคุ้มครองสิทธิของลูกเรือข้ามชาติ ไม่ใช่ลดทอนกฎระเบียบให้อ่อนแอลง นอกจากนี้ยังควรปฏิรูปพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.

เอกสารของแรงงานข้ามชาติ และการจ้างงานแรงงานข้ามชาติในปัจจุบัน

แรงงานข้ามชาติที่จะอยู่และทำงานอย่างถูกต้องตามกฎหมายในประเทศไทยต้องมีเอกสารประจำตัวอะไรบ้าง

ประกาศจากสถานฑูตเมียนมาประจำประเทศไทย แจ้งแรงงานข้ามชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยผ่านกระบวนการบันทึกความเข้าใจ (31-7-2566)

แจ้งแรงงานข้ามชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยผ่านกระบวนการบันทึกความเข้าใจ (31-7-2566) 1. แรงงานพม่าออกหนังสือเดินทางประเภท PJ มีอายุ 5 ปี ก่อนเดินทางออกจากพม่ามาทำงานในประเทศไทยผ่านกระบวนการ MoU 2. MOU แรงงานต้องกลับเข้าเมียนมาหลังจากทำงานในประเทศไทยครบ 4 ปี หากต้องการกลับประเทศไทยด้วยโปรแกรม U-Turn จะต้องทำกระบวนการ U-Turn ของ MoU อีกครั้งที่เมียนมาร์ 3. แรงงานในบันทึกความเข้าใจบางคนยังมีหนังสือเดินทางเหลืออีก 1 ปี แต่จะไม่กลับเมียนมาและอยู่จนหมดอายุ โปรดทราบว่าหากคุณนำหนังสือเดินทางที่หมดอายุไปที่สถานทูตเมียนมาร์ คุณจะต้องชำระค่าปรับ 3,650 บาท ณ วันที่ 31-7-2023 (ขอให้ชาวเมียนมาที่มาเมืองไทยมีสุขภาพแข็งแรงและมีความสุข)

มติคณะรัฐมนตรี 8 สิงหาคม 2566 เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าวภายหลังวันที่ 31 กรกฎาคม 2566 ขยายเวลากลุ่มจดทะเบียนให้อยู่และทำงานได้ถึงวันที่ 30 กันยายน 2566

เพื่อเป็นการกำหนดมาตรการในการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าวภายหลังวันที่ 31 กรกฎาคม 2566 ซึ่งจะเป็นมาตรการสนับสนุนนายจ้างและสถานประกอบการให้สามารถจ้างคนต่างด้าวที่มีสถานะถูกต้องตามกฎหมายทำงานต่อไปได้ เพื่อรองรับการฟื้นฟูประเทศภายหลังการผ่อนคลายมาตรการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 รง.